ฉันทลักษณ์
ทีมงานทรูปลูกปัญญา
|
18 ม.ค. 65
 | 123.9K views



1. กลอนแปด หรือ กลอนสุภาพ เปนกลอนที่นอง ๆ อาจจะคุนชินและเห็นกันบอยที่สุด ซึ่งฉันทลักษณนั้นก็ไมไดยากเกิน ความสามารถของนอง ๆ ซึ่งกลอนแปดมีการกําหนดพยางคและสัมผัส มีหลายชนิดแตที่นิยมคือ กลอนสุภาพ

ลักษณะคําประพันธ

         1.1.1 คณะ กลอนแปดนั้น 1 บทจะมี 2 บาท หรือ 4 วรรค โดยในหนึ่งบทนั้น วรรคแรกเรียกวาวรรคสดับ วรรคที่สองคือวรรครับ วรรคที่สามเรียกวาวรรครอง และวรรคที่สี่เรียกวาวรรคสง
         1.1.2 เสียง การจะแตงกลอนแปดใหไพเราะนั้น เราก็ตองมีขอบังคับเรื่องเสียงกันหนอย วาวรรคใดสามารถ ลงดวยเสียงอะไรไดและไมไดอยางไรบาง
                     - วรรคสดับ คําสุดทายสามารถลงไดทุกเสียง
                     - วรรครับ คําสุดทายหามเสียงสามัญกับตรี
                     - วรรครอง คําสุดทายหามใชเสียงเอกโทจัตวา
                     - วรรคสง คําสุดทายหามใชเสียงเอกโทจัตวา
พี่วาจริงๆ แลวนองไมจําเปนตองจํากฎตาง ๆ พวกนี้เลย ถานอง ๆ ลองอานกลอนนั้น ๆ ออกเสียงแลวลองฟงดู ถาเสียงมันไมกลมกลืนไพเราะ หรือไมลื่นไหล ก็แสดงวาเราใชเสียงผิดนั่นเอง
         1.1.3 การสงสัมผัส การสงสัมผัสเปนหัวใจของบทรอยกรองทุกประเภท ในกลอนแปดเรากําหนดใหมี สัมผัสในบท หรือ สัมผัสนอก 3 แหง และมีสัมผัสระหวางบท 1 แหง คือ
                  สัมผัสนอก นั่นก็คือสัมผัสระหวางวรรคในบทนั้น ๆ
                     - คําสุดทายของวรรคสดับ (วรรคที่ 1) ตองสัมผัสกับคําที่ 3 หรือ 5 ของวรรครับ (วรรคที่ 2)
                     - คําสุดทายของวรรครับ (วรรคที่ 2) ตองสัมผัสกับคําสุดทายของวรรครอง (วรรคที่ 3) 
                     - คําสุดทายของวรรครอง (วรรคที่ 3) ตองสัมผัสกับคําที่ 3 หรือ 5 ของวรรคสง (วรรคที่ 4)
                  สัมผัสระหวางบท คือ สัมผัสบังคับที่ตองมีระหวางบท โดยคําสุดทายของบทแรกตองสัมผัสกับคําสุดทายของวรรค ที่รับ (วรรคที่ 2) ในบทถัดไป

*ขอสังเกต ในบางครั้งสัมผัสระหวางวรรคนั้น ไมจําเปนตองลงคําที่ 3 หรือ คําที่ 5 เสมอไป ในกรณีที่ผูแตงไมสามารถหาคํามาลงใน ตําแหนงนั้น ๆ ได เราก็อนุโลมใหลงสัมผัสในคําที่ 1, 2 หรือ 4 ได

 

2. กาพย์

    2.1 กาพยยานี 11 เปนอีกหัวขอหนึ่งที่ออกขอสอบบอย มีฉันทลักษณที่ไมยากจนเกินไปและมีสัมผัสคลายกับกลอนแปดจึง งายตอการจดจํา แตขอที่ตางนั่นก็คือ จํานวนคําในกลอนแปดนั้น หนึ่งวรรคจะมี 8 คํา แตในกาพยยานี 11 วรรคแรกจะมี 5 คํา วรรค ที่ 2 จะมี 6 คํา หรือจํางาย ๆ วา “วรรคหนามีหาคํา วรรคหลังจําไวมีหก” ดังนั้นในหนึ่งบาทก็จะมีทั้งหมด 11 คํา ซึ่งเปนที่มาของชื่อ “กาพยยานี 11” นั่นเอง

ลักษณะคําประพันธ

         2.1.1 คณะ กาพยยานี 11 หนึ่งบทจะมี 4 วรรค หรือ 2 บาท โดยบาทที่ 1 เราเรียกวา “บาทเอก” และบาทที่ 2 เรา เรียกวา “บาทโท” และบาทหนึ่งจะมี 2 วรรค โดยวรรคหนามี 5 คํา และวรรคหลังมี 6 คํา
         2.1.2 เสียง คําสุดทายของบทกําหนดหามใชคําตาย และคําที่มีเสียงวรรณยุกต
         2.1.3 การสงสัมผัส การสงสัมผัสเปนหัวใจของบทรอยกรองทุกประเภท ในกาพยยานี 11 เรากําหนดใหมีสัมผัส ในบท หรือ สัมผัสนอก 2 แหง และมีสัมผัสระหวางบท 1 แหง คือ
                  สัมผัสนอก นั่นก็คือสัมผัสระหวางวรรคในบทนั้น ๆ
                     - คําสุดทายของวรรคสดับ (วรรคที่ 1) ตองสัมผัสกับคําที่ 3 ของวรรครับ (วรรคที่ 2)
                     - คําสุดทายของวรรครับ (วรรคที่ 2) ตองสัมผัสกับคําสุดทายของวรรครอง (วรรคที่ 3)
                  สัมผัสระหวางบท คือสัมผัสบังคับที่ตองมีระหวางบท โดยคําสุดทายของบทแรกตองสัมผัสกับคําสุดทายของ วรรคที่รับ (วรรคที่ 2) ในบทถัดไป เชนเดียวกันกับกลอนแปด

พี่ขอแนะนํานอง ๆ วา ในการจดจําฉันทลักษณนั้น เราไมจําเปนตองทองตามแผนผังใหไดเปะ ๆ เพราะวาพี่รูวามันจํายากและ มีโอกาสผิดพลาดไดงาย ดังนั้น พี่เลยขอแนะนําวาใหจํากลอนแมแบบไปเลย ใหนองเลือกกลอนที่งายและคิดวาตัวเองจําได พอเขา หองสอบ เราก็คอยเอากลอนที่เราจํานั้นไปเทียบฉันทลักษณ ซึ่งพี่รับรองวางายกวาอยางแนนอน ​

 

    2.2 กาพยฉบัง 16 มักใชในบทที่บรรยายลีลาแบบโลดโผนมีอารมณคึกคักสนุกสนาน ปจจุบันมักใชเขียนบทปลุกใจและ บทสดุดี 

ลักษณะคําประพันธ

         2.2.1 คณะ กาพยฉบัง 16 หนึ่งบทมี 3 วรรค วรรคแรกมี 6 พยางค วรรคที่สองมี 4 พยางค และวรรคที่สามมี 6 พยางค ตามลําดับ จํานวนพยางครวมกันได 16 พยางค จึงไดชื่อวา “กาพยฉบัง 16” โดยนอง ๆ อาจจําวา “หก-สี่-หก” ก็ไดเชนกัน
         2.2.2 เสียง มักนิยมเสียงสามัญและจัตวาเปนคําทายวรรค
         2.2.3 การสงสัมผัส การสงสัมผัสของกาพยฉบัง 16 งายมาก ๆ เพราะมีเพียง 2 แหงเทานั้น ซึ่งเรากําหนดใหมี สัมผัสในบท หรือ สัมผัสนอก 1 แหง และมีสัมผัสระหวางบทอีก 1 แหง คือ
                  สัมผัสนอก นั่นก็คือสัมผัสระหวางวรรคในบทนั้น ๆ
                     - คําสุดทายของวรรคที่ 1 ตองสัมผัสกับคําสุดทาย ของวรรคที่ 2
                  สัมผัสระหวางบท คือสัมผัสบังคับที่ตองมีระหวางบท โดยคําสุดทายของบทแรกตองสัมผัสกับคําสุดทายของ วรรคแรกในบทถัดไป

 

    2.3 กาพยสุรางคนางค 28

ลักษณะคําประพันธ
 
         2.3.1 คณะ กาพยสุรางคนางค 28 หนึ่งบทมี 7 วรรค วรรคละ 4 พยางค จํานวนพยางครวมกันได 28 พยางค จึง ไดชื่อวา “กาพยสุรางคนางค 28”
         2.3.2 การสงสัมผัส การสงสัมผัสของกาพยสุรางคนางค 28 นอง ๆ คงตองใชความพยายามกันหนอย เพราะใน หนึ่งบทมีสัมผัสคอนขางมากและนาสับสน คือ
                  สัมผัสนอก นั่นก็คือสัมผัสระหวางวรรคในบทนั้น ๆ
                     - คําสุดทายของวรรคที่ 1 ตองสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ 2
                     - คําสุดทายของวรรคที่ 3 สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ 5
                     - คําสุดทายของวรรคที่ 4 สัมผัสกับคําแรกหรือคําที่สองของวรรคที่ 5
                     - คําสุดทายของวรรคที่ 5 สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ 6
                  สัมผัสระหวางบท คือสัมผัสบังคับที่ตองมีระหวางบท โดยคําสุดทายของบทแรกตองสัมผัสกับคําสุดทายของวรรค ที่ 3 ในบทถัดไป

 

3. ฉันท์

    3.1 อินทรวิเชียรฉันท โดยปกติแลวฉันทมักใชสําหรับแตงเรื่องที่ตอเนื่องกันยืดยาว มีบทพรรณนา หรือการแทรกคติตางๆ เชนเรื่อง สามัคคีเภทคําฉันท กฤษณาสอนนองคําฉันท มงคลสูตรคําฉันท เปนตน เนื่องจากฉันทเปนสิ่งที่คนไทยไดรับมาจากวรรณคดี บาลีซึ่งมีการใชคําหนัก-เบา ดังนั้นในการแตงฉันททุกประเภท ขอบังคับสําคัญก็คือ ครุ-ลหุ หรือ เสียงหนัก-เสียงเบาที่นองๆ ตองมี ความรูเบื้องตนมาแลววามีวิธีการสังเกตอยางไร

ลักษณะคําประพันธ

         3.1.1 คณะ อินทรวิเชียรฉันท 1 บทมี 2 บาท และมี 4 วรรค โดยบังคับครุ-ลหุ ดังนี้ วรรคหนา (ในที่นี้หมายถึง วรรค ที่ 1 กับ 3 ของบทนั้น ๆ) มี 5 คํา โดยมีขอบังคับครุ-ลหุ ดังนี้ ตําแหนงคําที่ 1 2 4 และ 5 เปน “ครุ” และคําที่ 3 เปน “ลหุ” และวรรค หลัง (ในที่นี้หมายถึง วรรคที่ 2 และ 4 ของบทนั้น ๆ) จะมี 6 คํา โดยมีขอบังคับครุ-ลหุ ดังนี้ ตําแหนงคําที่ 1 2 และ 4 เปน “ลหุ” และ ตําแหนง 3 5 และ 6 เปน “ครุ”

วิธีการทองจํางายๆ พี่ขอแนะนํา 2 วิธี นั่นก็คือ นองอาจจะจําวา มีคําลหุในพยางคที่ “3, 6, 7, 9” หรือวิธีที่ 2 คือ ทองแบบมีจังหวะจะโคน นอง ๆ อาจจะทองวา “หันหัน / อุหันหัน อุอุหัน / อุหันหัน” หรือจะทองวา “อะอะ / อุอะอะ อุอุอะ / อุ อะอะ” ก็ได ขึ้นอยูกับความถนัดของนอง ๆ

                  หมายเหตุ : คําครุ เราแทนดวย “ไมหันอากาศ” หรือ “หัน” สวนคําลหุ เราแทนดวย “สระอุ” หรือ “อุ”

         3.1.2 การสงสัมผัส การสงสัมผัสของอินทรวิเชียรฉันท มีเพียง 3 แหง คือ
                  สัมผัสนอก นั่นก็คือสัมผัสระหวางวรรคในบทนั้นๆ
                     - คําสุดทายของวรรคที่ 1 ตองสัมผัสกับคําที่ 3 ของวรรคที่ 2
                     - คําสุดทายของวรรคที่ 2 สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ 3
                  สัมผัสระหวางบท ในคําประพันธประเภทฉันทนั้นก็เหมือนกันกับคําประพันธทุกประเภท นั่นก็คือ คําสุดทายของบทแรกตองสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ 2 ในบทถัดไป

ขอสังเกต ในการทําโจทยภาษาไทยเรื่องอินทรวิเชียรฉันทบางครั้ง นอง ๆ จําเปนตองอานบทรอยกรองนั้น ๆ ใหเขาตามฉันทลักษณ ครุ-ลหุ ที่กําหนดไว พี่จะยกตัวอยางเพื่อใหนอง ๆ เห็นภาพชัดขึ้น

                     พวกราชมัลโดย   พลโบยมิใชเบา
                สุดหัตถแหงเขา        ขณะหวดสิพึงกลัว
                บงเนื้อก็เนื้อเตน       พิศเสนสรีรรัว
                ทั่วรางและทั้งตัว      ก็ระริกระริวไหว

         จากตัวอยางขางตน ใหนอง ๆ สังเกตคําที่พี่เนนไว ซึ่งก็คือคําวา “ราช” “พล” และ “พิศ” โดยปกติแลวนอง ๆ มักจะอานทั้ง 3 นี้วา /ราด/ /พล/ และ /พิด/ กันอยางแนนอน แตทวา เมื่อทั้ง 3 คํานี้มาอยูในอินทรวิเชียรฉันทนั้น เราจึงจําเปนตองปรับเปลี่ยนการอาน เพื่อใหเขา กับฉันทลักษณครุ-ลหุ ดังนั้นเราจะตองอานวา /ราชะ/ /พะละ/ และ /พิสะ/ เพื่อใหตรงกับ “หันหัน / อุหันหัน อุอุหัน / อุหันหัน” นั่นเอง

 

4, โคลง 

    4.1 โคลงสี่สุภาพ เปนโคลงอีกประเภทหนึ่งที่กวีนิยมแตงและออกขอสอบบอยมาก โดยทั่วไปแลวบทรอยกรองประเภทโคลง นั้นมีลักษณะบังคับที่สําคัญยิ่งนั่นก็คือ “เอก-โท” ซึ่งนองๆ จําเปนตองจําฉันทลักษณใหไดเพื่อที่จะสามารถนําไปใชในหองสอบ โดย การจําฉันทลักษณนั้น พี่แนะนําใหนองทองจํา “โคลงแมบท” ซึ่ง “โคลงแมบท” ก็คือ โคลงสี่สุภาพที่มีไมเอกไมโทตรงตามบังคับ ซึ่ง จะกลาวถึงในลําดับตอไป
 

ลักษณะคําประพันธ

         4.1.1 คณะ โคลงสี่สุภาพ 1 บท จะมี 4 บาท และวรรคหนาของทุกบาทจะมี 5 คํา และมีวรรคหลัง 2 คํา แตในบาท ที่ 1 และ 3 นั้นวรรคหลังจะมีคําสรอยหรือไมมีก็ได
         4.1.2 การสงสัมผัส
                     - คําสุดทายของบาทที่ 1 (ที่ไมใชคําสรอย) สัมผัสคําสุดทายในวรรคแรกในบาทที่ 2, 3
                     - คําสุดทายของบาทที่ 2 สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคแรกในบาทที่ 4
         4.1.3 คําเอก-คําโท หมายถึง พยางคที่บังคับดวยรูปวรรณยุกตเอก และรูปวรรณยุกตโทกํากับในคํานั้น
                     - คําเอก คือ รูปวรรณยุกตเอกกํากับทุกคํา เชน แก ตี่ พี่ โด ทอง รอย เปนตน
                     - คําโท คือ คําที่มีรูปวรรณยุกตโทกํากับทุกคํา เชน มา หลา ไซร ราย ให เตน เปนตน
         ในโคลงสี่สุภาพหนึ่งบทจะมีคําเอกทั้งหมด 7 แหง และคําโททั้งหมด 4 แหง หรือนอง ๆ สามารถจดจําอยางงาย ๆ วา “เอกเจ็ดโทสี่” และคําเอก โท ในบาทแรกของโคลงอาจสลับที่กันได
         แตมีขอสังเกตเล็ก ๆ นอย ๆ มาฝากนอง ๆ กันวา ถาหากในกรณีที่เราไมสามารถหาคํามาลงในตําแหนงเอก - โท ที่กําหนดไว ได เราจะมีขอแกไขอยางไร คําตอบก็คือ เราสามารถอนุโลมใหใช “คําตายแทนคําเอก” ได ในกรณีที่หาคําเอกมาลงไมไดนั่นเอง นอกจากนี้เรายังมีอีกทางเลือกหนึ่งนอกเหนือจากการใชคําตายแทนคําเอก นั่นก็คือ การใช “เอกโทษ-โทโทษ” ที่พี่เคยพูดถึงไปแลว ในบทแรกในเรื่อง ลักษณะ 9 ประการของบทรอยกรอง

    4.2 โคลงสองสุภาพ นอง ๆ บางคนอาจจะไมคุนหูและไมเคยรูจักโคลงสองสุภาพมากอน แตในขอสอบโอเนตนั้น ยังมี การออกเรื่องโคลงสองสุภาพอยูเปนครั้งคราว ดังนั้นเรามาทําความรูจักกับโคลงชนิดนี้เลยดีกวา ขึ้นชื่อวา “โคลง” ก็ตองมีการบังคับ “เอก-โท” เชนเดียวกันกับโคลงสี่สุภาพ แตจะสั้นและงายกวาเล็กนอย โดยทั่วไปแลวโคลงสองนั้นใชในการจบรายสุภาพ
 

ลักษณะคําประพันธ

         4.2.1 คณะ โคลงสองสุภาพ 1 บท จะมี 3 วรรค โดยมีวรรคละ 5 คําสองวรรค สวนวรรคสุดทายมี 4 คํา และ อาจเพิ่มหรือไมเพิ่มคําสรอยตอนทายก็ได
         4.2.2 การสงสัมผัส มีแหงเดียว นั่นก็คือ คําสุดทายของวรรคที่ 1 ตองสัมผัสกับคําสุดทายของวรรค 2

 

เนื้อหาจาก หนังสือติวเข้ม O-NET GET 100 วิชาภาษาไทย ดาวน์โหลด คลิกที่นี่