ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้
อักษรไทย
๑. พยัญชนะ มี ๔๔ ตัว ดังนี้
ก |
ข |
ฃ |
ค |
ฅ |
ฆ |
ง |
จ |
ฉ |
ช |
ซ |
ฌ |
ญ |
ฎ |
ฏ |
ฐ |
ฑ |
ฒ |
ณ |
ด |
ต |
ถ |
ท |
ธ |
น |
บ |
ป |
ผ |
ฝ |
พ |
ฟ |
ภ |
ม |
ย |
ร |
ล |
ว |
ศ |
ษ |
ส |
ห |
ฬ |
อ |
ฮ |
แบ่งตามระดับพื้นเสียงได้ ๓ หมู่ เรียกว่า อักษร ๓ หมู่ หรือ ไตรยางค์
อักษรสูง มี ๑๑ ตัว |
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห |
วิธีจำ ไข่ ใส่ ถุง ฝา ฉิ่ง หก ผาง ฐาน เฃต ศึกษา |
|
อักษรกลาง มี ๙ ตัว |
ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ |
วิธีจำ ไก่ จิก เฎ็ก ฏาย (เด็ก ตาย) บน ปาก โอ่ง |
|
อักษรต่ำมี ๒๔ ตัว |
ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ |
วิธีจำ พยัญชนะที่เหลือจากอักษรสูงและอักษรกลาง |
การใช้พยัญชนะในภาษาไทย
๑. พยัญชนะไทยส่วนใหญ่อยู่ในบรรทัด ยกเว้น ช ซ ป ฝ ฟ ศ ส ฬ ฮ ที่มีหางยาวเหนือบรรทัด และ ญ ฎ ฏ ฐ ที่มีหางยาวลงมาใต้บรรทัด
๒. พยัญชนะไทยส่วนใหญ่มีหัวเป็นวง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ
- พยัญชนะหัวเข้า มี ๑๖ ตัว ได้แก่ ง ฌ ญ ฒ ณ ด ต ถ ผ ฝ ย ร ล ว ส อ ฮ
- พยัญชนะหัวออก มี ๒๖ ตัว ได้แก่ ข ฃ ค ฅ ฆ จ ฉ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ท น บ ป พ ฟ ภ ม ร ศ ษ ห ฬ
๓. พยัญชนะไทยที่ไม่มีหัว มี ๒ ตัว คือ ก และ ธ
๒. สระ ตามตำราเดิมกล่าวว่าสระไทยมี ๒๑ รูป ๓๒ เสียง ได้แก่
ปัจจุบันราชบัณฑิตยสถานระบุว่า มีเพียง ๒๑ หน่วยเสียง ดังนี้
สระเดี่ยว (๑๘) |
สระประสม (๓) |
สระเกิน (๘) |
อะ อา อิ อี อุ อู อึ อือ เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ |
เอียะ-เอีย ๑ หน่วย เอือะ-เอือะ ๑ หน่วย อัวะ-อัว ๑ หน่วย |
อำ ไอ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา(มีเสียงที่ซ้ำกับสระเดี่ยว) |
สระแบ่งได้เป็น ๒ ชนิด (อ้างอิงตามตำราเดิม )
๑. สระเสียงสั้น (๑๘ เสียง) |
๒. สระเสียงยาว (๑๔ เสียง) |
||||
-ะ |
อ่านว่า |
อะ |
-า |
อ่านว่า |
อา |
-ิ |
อ่านว่า |
อิ |
-ี |
อ่านว่า |
อี |
-ึ |
อ่านว่า |
อึ |
-ื |
อ่านว่า |
อือ |
-ุ |
อ่านว่า |
อุ |
-ู |
อ่านว่า |
อู |
เ-ะ |
อ่านว่า |
เอะ |
เ- |
อ่านว่า |
เอ |
แ-ะ |
อ่านว่า |
แอะ |
แ- |
อ่านว่า |
แอ |
โ-ะ |
อ่านว่า |
โอะ |
โ- |
อ่านว่า |
โอ |
เ-าะ |
อ่านว่า |
เอาะ |
-อ |
อ่านว่า |
ออ |
เ - อะ |
อ่านว่า |
เออะ |
เ-อ |
อ่านว่า |
เออ |
เ-ียะ |
อ่านว่า |
เอียะ |
เ-ีย |
อ่านว่า |
เอีย |
เ-ีอะ |
อ่านว่า |
เอือะ |
เ-ือ |
อ่านว่า |
เอือ |
-ัวะ |
อ่านว่า |
อัวะ |
-ัว |
อ่านว่า |
อัว |
ฤ |
อ่านว่า |
รึ |
ฤา |
อ่านว่า |
รือ |
๑. สระเสียงสั้น (๑๘ เสียง) |
๒. สระเสียงยาว (๑๔ เสียง) |
||||
ฦ |
อ่านว่า |
ลึ |
ฦา |
อ่านว่า |
ลือ |
-ำ |
อ่านว่า |
อำ |
|
||
ใ |
อ่านว่า |
ไอ |
|
||
ไ |
อ่านว่า |
ไอ |
|
||
เ-า |
อ่านว่า |
เอา |
|
การใช้สระในภาษาไทย
๑. สระคงรูป คือ สระที่ไม่เปลี่ยนรูป เมื่อประสมกับพยัญชนะ เช่น
ร + -ิ + ม = ริม บ + -ัว = บัว
๒. สระเปลี่ยนรูป คือ สระที่เปลี่ยนรูป เมื่อประสมกับพยัญชนะมี ๔ ตัว ดังนี้
๓. สระลดรูป คือ สระที่ลดรูป เมื่อนำมาประสมกับพยัญชนะ เช่น
๓. วรรณยุกต์
วรรณยุกต์ไทย คือเครื่องหมายแทนระดับสูง-ต่ำ เขียนบนพยัญชนะ ได้แก่
๔. เลขไทย
เลขไทยเป็นเอกลักษณ์ของไทยมีจำนวนเท่ากับเลขสากล (เลขอารบิก) ๑๐ ตัว
อารบิก |
0 |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
เลขไทย |
๐ |
๑ |
๒ |
๓ |
๔ |
๕ |
๖ |
๗ |
๘ |
๙ |
คำอ่าน |
ศูนย์ |
หนึ่ง |
สอง |
สาม |
สี่ |
ห้า |
หก |
เจ็ด |
แปด |
เก้า |
วิธีนำเลขไทยไปใช้ ได้แก่
๑. เขียนจำนวนตัวเลขทั่วไป เช่น ๑ ๒๔ ๓๖๕
๒. เขียนบ้านเลขที่ เช่น ๑๒/๓๔ ๕๖/๗๘๙
๓. เขียนหัวข้อต่าง ๆ เช่น ๑. ๑.๕ ๑) (๑)
๔. เขียนวัน เดือน ปี เช่น ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ ๒๑/๗๘/๒๕๕๔
การประสมคำ
การประสมคำ คือ การนำพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์มารวมเป็นคำ
๑. การประสมคำที่มีพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์
คำ |
พยัญชนะ |
สระ |
รูปวรรณยุกต์ |
เหา |
ห |
เ-า |
- (เสียงจัตวา) |
๒. การประสมคำที่มีพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกด
คำ |
พยัญชนะ |
สระ |
รูปวรรณยุกต์ |
ตัวสะกด |
ข้าม |
ข |
-า |
้ |
ม |
๓. การประสมคำที่มีพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวการันต์
คำ |
พยัญชนะ |
สระ |
รูปวรรณยุกต์ |
ตัวการันต์ |
เล่ห์ |
ล |
เ- |
่ (เสียงโท) |
ห์ |
๔. การประสมคำที่มีพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด และตัวการันต์
คำ |
พยัญชนะ |
สระ |
รูปวรรณยุกต์ |
ตัวสะกด |
ตัวการันต์ |
สัตว์ |
ส |
-ะ |
- (เสียงเอก) |
ต |
ว์ |
สรุป
ความรู้เรื่อง อักษรและการประสม ช่วยพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนอย่างถูกต้อง
คำสำคัญ ๑. อักษรไทย ๒. พยัญชนะ ๓. สระ ๔. วรรณยุกต์ ๕. เลขไทย ๖. การประสมคำ
แหล่งที่มาของเนื้อหา : สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช www.wpp.co.th