พุทธอุบัติสมบูรณ์
ทีมงานทรูปลูกปัญญา
|
18 ม.ค. 65
 | 6.1K views



พุทธอุบัติ
\

• สถานที่ตั้งของตระกูลศากยะ
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของชมพูทวีป
รัฐ  สักกะ  เมืองกบิลพัสดุ์
ประชาชนชื่อ  ชาวศากยะ 
                                               \
สายพระวงศ์
• พระเจ้าโอกกากราช
พระโอรส ๔ พระราชธิดา ๕ สร้างเมืองใหญ่ชื่อกบิลพัสดุ์ ซึ่งเป็น ที่อยู่ของกบิลดาบส  

                                               \
พระเจ้าชัยเสนะ
• มีบุตรชื่อ สีหนุ + กัญจนา
 มีโอรส ๕  ธิดา ๒
๑. สุทโธทนะ   ๒.  สุทโกทนะ
๓. อมิโตทนะ   ๔.  โธโตทนะ
๕. ฆนิโตทนะ ปมิตา     อมิตา มีนามตระกูลว่า อาทิตย์ หรือ โคตรมะ
 
มีการปกครองแบบสภามนตรี
• เรียกว่า     “สังฆะ”สภา เลือกหัวหน้า ๑ คนเรียก ราชาเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร
         

พระเจ้าสุทโธทนะ เป็นพระราชา
• ในตำแหน่งการปกครองในยุคนั้น ผู้พร้อมด้วยความรู้ ความสามารถสูง ทางด้าการทหาร และการปกครอง ตลอดทั้งธนสารสมบัติอีกมากกว่าศากยะองค์อื่น ๆ
                                               \

สุทโธทนะ โคตมะ อภิเษกกับ สิริมหามายา
• พระราชาผู้กล้าหาญและมั่งคั่ง เจ้าหญิงแห่งโกลิยะวงศ์ จากกรุงกบิลพัสดุ์จากกรุงเทวหะ
                                         \

ทรงครรภ์ครบ ๑๐ เดือน
• ลาพระสวามีกลับไปประสูติที่บ้านเดิมและประสูติที่สวนลุมพินีระหว่างทาง  วันเพ็ญเดือน ๖ เวลาใกล้เที่ยงก่อนพุทธศักราช ๘๐ ปี
                                              \
พราหมณ์ ผู้เชี่ยวชาญ ไตรเวช ๘ คน

• คือ  ๑ ราม       ๒  สักษณ์
        ๓ ยัญณ์     ๔  ธช
        ๕ โภช       ๖  สุทัตต์
        ๗ สุยาม    ๘ โกณฑัญญ
                                          \

เหตุการณ์ที่หลังประสูติ
• ๓  วัน อสิตดาบส เข้าเยี่ยม ๕  วัน ขนานนามและทำนายลักษณะ ๗  วัน พระราชมารดาสิ้นพระชนม์

เจ้าชายมีน้องร่วมพระชนก ๒ คือ
• พระนันทะ  และพระนางรูปนันทาเพื่อนร่วมรุ่นลูกของน้องพ่อ เช่นมหานามะ อนุรุทธะ  อานนท์ และ เทวทัต 
                                               \
๘ พรรษาเข้าเรียน วิชาศิลปะศาสตร์
• ซึ่งเป็นวิชาสามัญ และต่ออีก ๑๘ สาขา ซึ่งเป็นวิสามัญ เช่น  ไตรเวท วิชาพระเวท และเวทางคศาสตร์จิตศาสตร์ คัมภีร์อุปนิษัท เป็นต้น                                           \

• พระชมมายุได้ ๑๖  พรรษา อภิเษกสมรมกับพระนางยโสธรา    หรือพระนางพิมพา ได้โอรสนามว่า ราหุล
                                             \

ชีวิตฆราวาส
• มี ประสาท   ๓ ฤดูแวดล้อมด้วย สนมน้อยผู้งดงามอายุไม่เกิน ๑๖  ปี 

• อายุ ๒๐ ปี ก้าวเข้าสู่เวทารเมือง ของกษัตริย์ที่เรียกว่าศากยะสังฆะ  หรือ สภามนตรีสำนักงานใหญ่เรียกว่า สัณฐาคาร ตั้งอยู่ในกบิลพัสดุ์                                        \

พิธีรับสมาชิกใหม่
• ประธานจะแจ้งเพื่อพิจารณา  ๓  ครั้งหากไม่มีการคัดค้านจะรับเข้าเป็นสมาชิกและไม่มีใครค้านเจ้าชายสิทธัตถะ
 
ต้องสาบานตนเข้าเป็นสมาชิก
• โดยสมาทานรับปฏิบัติตามกฎ  ๔  ข้อ
๑. จะไม่ขาดประชุม
๒. จะเปิดเผยพูดเรื่องจริงหากจะเกิดประโยชน์
๓. จะไม่โกรธตอบ
๔. ข้าพเจ้าจะอุทิศกาย จิตใจ ทรัพย์ สมบัติเพื่อประโยชน์
 

รับฟังกฎกติกาของสภา
• ต้องพ้นจากความเป็นสมาชิก
เมื่อ....
๑ ข่มขืนกระทำชำเราผู้อื่น
๒ เมื่อเป็นฆาตกร
๓ เมื่อใช้หลักฐานเท็จ


เสด็จออกบวชพร้อมนายฉันนะ
• ข้ามน้ำอโนมา สู่ฝั่งแห่งเสรีภาพของชีวิต
                                       \

เรียนในสำนัก
• อาจารย์อาฬารดาบส  กาลามโคตร  อุทกดาบส รามบุตรได้เรียนรู้ถึงขั้นฌานสมาบัติ 8
                                            \

แสวงหาความพ้นทุกข์เอง
• บำเพ็ญทุกรกิริยาทดลองอดพระกระหารกัดฟัน กลั้นลมหายใจ  เป็นต้น และพบว่า นั่นไม่ใช่ หนทางแห่งการตรัสรู้

หันมาเสวยพระกระยาหาร
• นางสุชาดา  ถวายข้าวมธุปายาสซึ่งทำจากนมอย่างดี ๕ ชนิดและน้ำผึ้ง เดือน ๕ ทำให้มีพละกำลังสู่การปฏิบัติทางจิต
 
เสด็จสู่โพธิ์บัลลัง
• อธิษฐาน แม้ว่าเลือดเนื้อจะเหือดแห้งไป เหลือแต่เส้นเอ็นและหนังหุ้มกระดูกก็ตาม  หากไม่บรรลุธรรมจะไม่ยอมลุกจากที่นี่เป็นอันขาด
 

บรรลุ ญาณ ๓
๑.  บุพเพนิวาสานุสสติญาณ : ระลึกชาติได้
๒. จุตุปปาตญาณ :  รู้การเกิดและดับของสัพพวิญญาณ
๓. อาสวักขยญาน : ทำลายกองกิเลสทั้งหลายได้  ในวันเพ็ญเดือน ๖
 
จิตต่อสู้กับ พระยามาร
• ความคิดระหว่างการจะกลับอยู่ครองราชาเป็นจักรพรรดิ์ กับ  การมุ่งตรัสรู้ธรรมต่อสู้กัน
 

เสวยวิมุติสุข
• ไม้ ๗ ต้น   ต้นละ  ๗  วัน
 
ลังเลที่จะแสดงธรรม
• พบ ดอกบัว  ๔  เหล่า 
อุคติตัญญู
วิปติตัญญู
เนยยะ
ปทปรมะ
• จึงตัดสินใจแสดงธรรม
 
เสด็จไปแสดงธรรมแก่ปัญจวัคคีย์ ทั้ง ๕ คือ
• โกณทัญญะ  วัปปะ  ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิโกณทัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมก่อนและขอบวชต่อมา  เริ่มทยอยบรรลุธรรมกันหมด

ส่งออกประกาศพระศาสนา
• จราถะ  ภิกฺขเว  จาริกํ  พหุชนหิตายะ พหุชนสุขายะ ฯลฯ

โปรดพระยสะกุลบุตร
• บุตรเศรษฐี  เบื่อบ้านหนีออกมาพบพระพุทธเจ้า  ฟังธรรมและขอบวชพระองค์ทรงแสดง  อนุปุพพิกถาให้ฟังพ่อตามหา พระพุทธเจ้าแสดงธรรมให้พ่อฟังอีกรอบ ลูกจึงได้บรรลุ 

โปรดพระเจ้าพิมพิสาร
• ณ. สวนตาลหนุ่ม แสดงธรรมให้ พระเจ้าพิมพิสารพร้อมบริวารหนึ่งแสนหนึ่งหมื่นฟัง  จนดวงตาเห็นธรรมอีก ๑ นหุตขอถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ

พระเจ้าพิมพิสารถวายสวนไผ่
• ชื่อ วัดเวฬุวันเป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา
 
วันเพ็ญเดือน ๘
• ได้แสดงธรรมแก่พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ ที่มาประชุมกันโดยไม่ได้นัดหมาย เป็นที่มาขอวันมาฆบูชา

โปรดอหิงสกะ มหาโจร องคุลีมาล
• ภายหลังได้อุปสมบท และเข้าสู่มรรคผล และพักที่เชตะวันมหาวิหาร
 
ได้อุบาสก
• อนาถบิณฑิกเศรษฐี   เป็นมหาอุบาสก อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาพร้อมถวายวัด เชตวันมหาวิหารพระพุทธองค์ประทับอยู่  ๒๕  พรรษา

ได้มหาอุบาสิกาวิสาขา
• ได้ถวายวัดบุพผาราม และพร้อมโลหะปราสาทเป็นกุฎิให้พัก
 
• สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา พวกเธอจงยังประโยชน์ตน และประโยชน์ท่านให้สำเร็จด้วยความไม่ประมาทเถิด

พระเจ้าอโศกมหาราช
• เป็นผู้อุปถัมภ์ เป็นองค์อุปถัมภ์ การสังคายนาพระพุทธศาสนาและก่อตั้งทีมเผยแผ่ออก  ๘  สาย ประกาศศาสนาทั่วโลก

ได้รับการยอมรับ
• จากมหาชน จากหลักฐานที่พบ ถึงศรัทธา มหาศาล  เช่น  ทั้งอชันต้า และเอลโลล่า

ความหมายของพุทธ
• คือ  ผู้รู้  ผู้ตื่น  ผู้เบิกบาน
 
สิ่งที่ใช้บูชา
• ธูป  ๓  ดอก
๑  บูชาพระปัญญาคุณ
๒  บูชาพระบริสุทธิคุณ
๓  บูชาพระมหากรุณาคุณ

หลักธรรมของพุทธศาสนา
• อริยสัจ  ๔
๑.ทุกข์
๒.สมุทัย
๓.นิโรธ
๔.มรรค

ขอขอบคุณเนื้อหาจาก พระมหาปรีชา ปภสสโร