ปริมาณสารสัมพันธ์ 2
ทีมงานทรูปลูกปัญญา
|
06 ส.ค. 64
 | 84.9K views



ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 1
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 2
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 3
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 4
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 5
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 6
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 7
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 9
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 10
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 11
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 12
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 13
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 14
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 15
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 16
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 17
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 18
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 19
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 20
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 21
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 22
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 23
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 24
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 25
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 26
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 27
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 28
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 29
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 30
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 31
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 32
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 33
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 34
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 35
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 36
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 37
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 38
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 39
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 40
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 41
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 42
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 43
ปริมาณสารสัมพันธ์2 ตอนที่ 8

1.สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่มีสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน ประกอบด้วยตัวทำละลายและตัวถูกละลายถ้าตัวถูกสารละลายและตัวทำละลายมีสถานะเดียวกันสารละลายที่มีปริมาณมากกว่าเป็นตัวทำละลาย แต่ถ้าสารทั้งสองมีสถานะแตกต่างกันสารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายเป็นตัวทำละลาย 2. โมลาริตี หรือโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (mol/dm3 หรือ mol/l) เป็นหน่วยที่บอกจำนวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร หน่วยความเข้มข้นเป็นโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตรอาจเรียกย่อได้เป็นโมลาร์ 3.โมแลลิตี หรือ โมลต่อกิโลกรัม (mol/kg) เป็นหน่วยที่บอกจำนวนโมลของตัวถูกละลายที่ละลาย ในตัวทำละลาย1 กิโลกรัม จึงมีหน่วยเป็น mol/kg หรือเรียกว่า โมแลล 4.สมบัติคอลลิเกตีฟของสารละลาย เมื่อสารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่ได้จากการผสมสารบริสุทธ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกัน ถ้าสารที่นำมาผสมกันมีสถานะเดียวกันจะถือว่าสารที่มีปริมาณมากที่สุดเป็นตัวทำละลายส่วนสารที่มีปริมาณน้อยกว่าเป็นตัวละลาย จุดเดือดของสารละลายสูงกว่าตัวทำละลายบริสุทธิ์ และจุดหลอมเหลวของสารละลายต่ำกว่าตัวทำทำละลายบริสุทธิ์และถ้าสารละลายที่มีความเข้มข้นในหน่วยโมลต่อกิโลกรัมเท่ากัน จะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวเท่ากัน โดยที่ตัวละลายจะเป็นสารใดก็ได้แต่ต้องเป็นสารที่ระเหยยากและไม่แตกตัวเป็นไอออนส่วนสารละลายที่มีความเข้มข้นต่างกัน แม้จะมีตัวทำละละายชนิดเดียวกันก็มีค่าจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่เท่ากัน