จำนวนเต็ม
ทีมงานทรูปลูกปัญญา
|
06 ส.ค. 64
 | 12.6K views



จำนวนเต็ม คือ จำนวนที่ไม่มีเศษส่วนและทศนิยมรวมอยู่ในจำนวนนั้น

มีจำนวนเต็ม 3 ชนิด คือ

1.จำนวนเต็มบวก คือ จำนวนที่อยู่ทางด้านขวาของ 0 บนเส้นจำนวน เรียกว่าจำนวนนับ

2.จำนวนเต็ม 0 คือ จำนวนที่ไม่เป็นทั้งจำนวนเต็มบวกหรือเต็มลบ

3.จำนวนเต็มลบ คือ จำนวนที่อยู่ทางด้านซ้ายของเส้นจำนวน

การบวกและการลบจำนวนเต็ม

การบวกจำนวนเต็ม

. 10 8 = ( 10) ( 8) = 18

. (-7) (-5) = - 7 - 5 = -12

. - 5 8 = (-5) ( 8) = 3

. - 4 (-7) = - 11

. 8 (-6) = 8 - 6 = 2

การลบจำนวนเต็ม

. 11 - 8 = ( 11) - ( 8) = 3

. -7 - (-8) = - 7 8 = 1

. - 5 - ( 9) = -5 - 9 = - 14

. - 2 - (-7) = - 2 7 = 5

. 8 - (-7) = 8 7 = 15

การลบจำนวนเต็ม ต้องอาศัยการบวกตามข้อตกลงดังนี้

ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง จำนวนตรงข้ามของตัวลบ

ตัวอย่าง เช่น 6 - 2 = 6 (-2)

2 - 6 = 2 (-6)

(-15) - 3 = (-15) (-3)

จะเห็นได้ว่า เวลาบวกเลขที่มีเครื่องหมาย ถ้าเครื่องหมายเหมือนกันก็เอาไป

รวมกัน ถ้าเครื่องหมายต่างกันก็เอาไปหักกัน จำนวนที่เหลือก็มีเครื่องหมายตาม

จำนวนมาก ในการลบนั้น เราเปลี่ยนเครื่องหมายตัวลบให้เป็นตรงข้ามคือ ถ้าตัวลบ

เป็นจำนวนลบก็เปลี่ยนเป็นจำนวนบวก แล้วเอาไปบวกกับตัวตั้ง ถ้าตัวลบเป็นจำนวน

บวกก็เปลี่ยนเป็นจำนวนลบ แล้วเอาไปบวกกับตัวตั้ง

การคูณจำนวนเต็ม

การคูณจำนวนเต็ม มีสมบัติการสลับที่การเปลี่ยนกลุ่ม และการแจกแจงบนการบวก ซึ่งเราจะใช้สมบัติ

เหล่านี้ในการหาผลคูณ

1. การคูณจำนวนเต็มบวกกับจำนวนเต็มลบ เช่น

4 x 2 = 2 2 2 2

2 x 5 = 5 5

5 x 7 = 7 7 7 7

หรือ

3 x (-4) = (-4) (-4) (-4) = -12

สมบัติการบวกและการคูณของจำนวนเต็มบวก

ให้ a, b และ c แทนจำนวนเต็มบวกใด ๆ

1. สมบัติการสลับที่สำหรับการบวก

a b = b a

เช่น 2 5 = 5 2

2. สมบัติการสลับที่สำหรับการคูณ

a x b = b x a

เช่น 2 x 5 = 5 x 2

3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มสำหรับการบวก

(a b) c = a (b c)

เช่น (2 5 ) 6 = 2 ( 5 6 )

4. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มสำหรับการคูณ

(a x b) x c = a x (b x c)

เช่น (2 x 5 ) x 6 = 2 x ( 5 x 6 )

5. สมบัติการแจกแจง

a x (b c) = (a x b) (a x c)

เช่น 2 x ( 5 6 ) = (2 x 5) (2 x 6 )

หรือ (b c) x a = (b x a) (c x a)

เช่น (5 6 ) x 2 = (5 x 2 ) ( 6 x 2 )

หรือ a x ( b - c ) = ( a x b) - (a x c )

เช่น 2 x ( 5 - 3 ) = ( 2 x 5 ) - ( 2 x 3 )

2 x ( 3 - 5 ) = ( 2 x 3 ) - ( 2 x 5 )