บทเรียนออนไลน์ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง ใส่ใจสุขภาพ
ทีมงานทรูปลูกปัญญา
|
18 ม.ค. 65
 | 45.5K views



ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้

 

 

ใส่ใจสุขภาพ

 

 

1. สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
การจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้ถูกสุขลักษณะ มีดังนี้
     -ทำความสะอาดสิ่งของและบริเวณบ้านให้สะอาด
     -กำจัดขยะและสร้างบรรยากาศที่ดี
     -จัดสิ่งของให้เป็นระเบียบ

 

 

ต้องทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ

 

 

ทำความสะอาดสิ่งของและบริเวณบ้านให้สะอาด

 

 

กำจัดขยะและสร้างบรรยากาศที่ดี

 

 

ต้องนำที่นอนไปผึ่งแดดเพื่อป้องกันไรฝุ่น

 

 

การจัดสิ่งแวดล้อมที่โรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ มีดังนี้
     -ดูแลความสะอาดห้องเรียนและบริเวณโรงเรียนให้สะอาด

 

 

ดูแลความสะอาดห้องเรียนและบริเวณโรงเรียนให้สะอาด

 

 

การจัดสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ มีดังนี้
     -ทิ้งขยะให้ลงถัง
     -ไม่ทำลายของส่วนรวม

 

 

การจัดสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

การจัดสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

การจัดสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

ทิ้งขยะให้ลงถัง

 

 

2. อารมณ์กับสุขภาพ
อารมณ์มีหลายลักษณะ ดังนี้
     -อารมณ์รัก

 

 

อารมณ์รัก

 

 

     -อารมณ์โกรธ

 

 

อารมณ์โกรธ

 

 

     -อารมณ์กลัว

 

 

อารมณ์กลัว

 

 

     -อารมณ์วิตกกังวล

 

 

อารมณ์วิตกกังวล

 

 

     -อารมณ์อิจฉาริษยา

 

 

อารมณ์อิจฉาริษยา

 

 

อารมณ์และความเครียดมีผลกระทบต่อตัวเรา ได้ 2 ทาง ได้แก่
     -ผลกระทบต่อร่างกายทำให้เกิดโรคต่างๆ และร่างกายอ่อนแอ

 

ผลกระทบต่อร่างกายทำให้เกิดโรคต่างๆ และร่างกายอ่อนแอ

 

 

     -ผลกระทบต่อจิตใจทำให้จิตใจไม่สงบ หงุดหงิดง่าย อาจทำ ให้เป็นโรคจิตหรือโรคประสาท

 

 

ผลกระทบต่อจิตใจทำให้จิตใจไม่สงบ หงุดหงิดง่าย อาจทำ ให้เป็นโรคจิตหรือโรคประสาท



การควบคุมอารมณ์และความเครียด
     -ทำจิตใจให้แจ่มใส
     -ระบายอารมณ์อย่างเหมาะสม

 

 

การควบคุมอารมณ์และความเครียด

 

 

การควบคุมอารมณ์และความเครียด

 

 

3. ฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
วิธีการเลือกซื้ออาหาร มีดังนี้
     -มีประโยชน์ต่อร่างกาย ถูกสุขลักษณะ มีฉลากและ อย.
     -คำนึงถึงความประหยัด

 

 

วิธีการเลือกซื้ออาหาร

 

 

 

วิธีการเลือกซื้ออาหาร

 

 

วิธีการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพ มีดังนี้
     -ต้องมีเครื่องหมายมาตรฐานที่หน่วยงานกำหนด ได้แก่
     1.เครื่องหมาย อย. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

 

 

เครื่องหมาย อย.

 

 

     2.เครื่องหมายผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโดยจะมี 2 แบบ คือ
          -เครื่องหมายมาตรฐานแบบไม่บังคับ

 

 

เครื่องหมายมาตรฐานแบบไม่บังคับ

 

 

          -เครื่องหมายมาตรฐานแบบบังคับ

 

 

เครื่องหมายมาตรฐานแบบบังคับ

 

 

     -มีฉลากบอกรายละเอียด
     -จำเป็นและมีคุณภาพ
วิธีอ่านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ ต้องอ่านดังนี้

 

 

วิธีอ่านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ

 

 

     -วันเดือนปีที่หมดอายุ
     -ชื่อเครื่องหมายการค้า
     -ชื่อประเภทสินค้า
     -ปริมาณ
     -เครื่องหมาย อย.
     -ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต

 

4. การทดสอบ ปรับปรุง และสร้างเสริมสมรรถภาพร่างกาย
องค์ประกอบสมรรถภาพร่างกาย มีดังนี้
     -ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
     -ความอดทนของกล้ามเนื้อ
     -ความอ่อนตัว
     -ความทนทานของระบบหมุนเวียนเลือด

 

การทดสอบ ปรับปรุง และสร้างเสริมสมรรถภาพร่างกาย
     วิธีวัดอัตราการเต้นของหัวใจ ทำได้โดยจับชีพจรที่ข้อมือและนับอัตราการเต้นของหัวใจ 15 วินาที และนำมาคูณ4 เพื่อคิดอัตราใน 1 นาที

 

 

วิธีวัดอัตราการเต้นของหัวใจ

 

 

มีวิธีทดสอบ ปรับปรุง และสร้างเสริมสมรรถภาพร่างกาย มีดังนี้
     -ฝึกนั่งกระโดดหรือยืนกระโดด
     -ฝึกยืดกล้ามเนื้อและข้อต่อ
     -ฝึกวิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวาง
     -ฝึกปีนป่าย ไต่เชือก

 

ตัวอย่างรูปแบบการฝึกเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
     -ฝึกนั่งกระโดด
          นั่งกระโดดไปข้างหน้า

 

 

ฝึกนั่งกระโดด

 

 

          นั่งกระโดดหมุนตัว

 

 

นั่งกระโดดหมุนตัว

 

 

          นั่งงอเข่ากระโดดขึ้นยืน

 

 

นั่งงอเข่ากระโดดขึ้นยืน

 

 

     -ฝึกยืนกระโดด
          กระโดดแยกชิดขา

 

 

กระโดดแยกชิดขา

 

 

          กระโดดตบ

 

 

กระโดดตบ

 

 

          กระโดดยกแขน

 

 

กระโดดยกแขน

 

 

          กระโดดตบเท้ากลางอากาศ

 

 

กระโดดตบเท้ากลางอากาศ

 

 

          กระโดดเท้าเดียว-เท้าคู่ไปข้างหน้า

 

 

 

 

ตัวอย่างรูปแบบการฝึกเพื่อเสริมสร้างความอ่อนตัว
     -เหยียดขาเข่าตึง

 

 

เหยียดขาเข่าตึง

 

 

     -โค้งตัวไปข้างหน้ามือแตะพื้น เข่าตึง

 

 

โค้งตัวไปข้างหน้ามือแตะพื้น เข่าตึง

 

 

     -นอนคว่ำหงายลำตัวไปข้างหลัง

 

 

นอนคว่ำหงายลำตัวไปข้างหลัง

 

 

     -ยืนก้มหรือหงายจับลูกบอลร่วมกัน

 

 

ยืนก้มหรือหงายจับลูกบอลร่วมกัน

 

 

ตัวอย่างรูปแบบการฝึกเพื่อเสริมสร้างความคล่องตัว
     -วิ่งกลับตัว

 

 

วิ่งกลับตัว

 

 

     -วิ่งซิกแซ็ก

 

 

วิ่งซิกแซ็ก

 

 

     -วิ่งลอดหรืข้ามสิ่งกีดขวาง

 

 

วิ่งลอดหรืข้ามสิ่งกีดขวาง

 

 

 

แหล่งที่มาของเนื้อหา : สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช www.wpp.co.th