สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ)
ทีมงานทรูปลูกปัญญา
|
06 ส.ค. 64
 | 75K views



สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 1
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 3
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 4
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 5
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 6
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 7
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 8
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 9
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 10
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 11
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 12
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 13
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 14
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 15
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 16
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 17
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 18
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 19
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 20
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 21
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 22
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 23
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 24
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 25
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 26
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 27
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 28
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 29
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 30
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 31
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 32
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 33
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 34
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 35
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 36
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 37
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 38
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 39
สมบัติของธาตุและสารประกอบ(ตารางธาตุ) ตอนที่ 40

1. ขนาดอะตอม(รัศมีของอะตอม)1.1 พิจารณาตามหมู่ ขนาดอะตอมจะโตขึ้น ถ้าเลขอะตอมเพิ่มขึ้น (จากบนลงล่าง) เนื่องจากระดับพลังงานเพิ่มขึ้น 1.2 พิจารณาตามคาบ ขนาดอะตอมจะเล็กลง (จากซ้ายไปขวา) เนื่องจาก ธาตุแต่ละตัวอยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน แต่จำนวนโปรตอนเพิ่มมากขึ้น จึงดึงดูดอิเล็กตรอนให้เล็กลงตามลำดับ 2. ขนาดไอออน ไอออนบวก เกิดจากการจ่ายอิเล็กตรอน หากประจุบวกมากขึ้น ขนาดจะเล็กลง และ ไอออนลบเกิดจากการรับอิเล็กตรอน ขนาดจะใหญ่ขึ้น หากประจุลบมากขึ้น ขนาดจะใหญ่มากขึ้น 3. สมบัติของธาตุตามหมู่  3.1 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA และ IIA  3.2 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VII  A 3.3 ธาตุH อาจมีลักษณะคล้ายกับธาตุในหมู่ IA  และหมู่ VIIA  จึงจัด  H  ไว้ต่างหาก คาบเกี่ยวระหว่าง หมู่ IA  และหมู่ VIIA  3.4 ธาตุแทรนซิชั่น อยู่ระหว่างธาตุหมู่ IIA กับหมู่ IIIA  3.5ธาตุกึ่งโลหะ คือ ธาตุที่มีสมบัติเป็นทั้งโลหะและอโลหะ ได้แก่ Si Ge As Sb Te  3.6ธาตุกัมมันตรังสี คือ ไอโซโทปของธาตุที่ไม่เสถียร ปลดปล่อยอนุภาคและรังสี ดังนี้ แกมมา บีตา แอลฟา 4.พลังงานไอออไนเซชัน คือพลังงานอย่างน้อยที่สุดที่ใช้ดึงอิเล็กตรอนให้หลุดจากอะตอมในภาวะก๊าซ หากพิจารณาตามหมู่ ค่าไอออไนเซชันตะต่ำลง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น หากพิจารณาตามคาบ ค่าไอออไนเซชันจะสูงขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น  5.อิเล็กโตรเนกาติวิตีคือ ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนในรูปสารประกอบ พิจารณาตามหมู่ ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี จะต่ำลง เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น พิจารณาตามคาบ ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีจะสูงขึ้น เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น